วันจันทร์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556

ไม้เนื้ออ่อน

เป็นไม้ที่มีระยะเวลาการเจริญเติบโตเร็วทำให้มีวงปีกว้างลายไม้ที่ได้จึงน้อยและไม่ละเอียด เนื้อไม้เลยมีความแข็งแรงทนทานน้อยกว่าไม้เนื้อแข็ง ไม้ชนิดนี้จะมีสีของไม้แตกต่างกันออกไปมาก ตั้งแต่ไม้ที่มีสีจาง อ่อนไปจนถึงสีเข้ม เนื้อไม้ไม่แข็งมากจึงไม่นิยมมาใช้มาเป็นส่วนโครงสร้างที่ต้องการรับน้ำหนัก และเนื่องจากเนื้อไม้อ่อนทำให้นิยมนำมาใช้สำหรับงานตกแต่งภายในหรือเฟอร์นิเจอร์หรือโครงสร้างที่ไม่ต้องรับน้ำหนักมากแต่ก็ไม่เหมาะที่จะใช้กับงานภายนอกที่ต้องตากแดดตากฝน

ตัวอย่างไม้ชนิดนี้ก็มี
ไม้สยาขาว ลักษณะเนื้อไม้มีสีชมพูอ่อนแกมขาวถึงน้ำตาอ่อนแกมแดง มีริ้วสีแก่กว่าสีพื้น ผิวเป็นมันเลื่อม เนื้อหยาบอ่อน ค่อนข้างเหนียว เลื่อยไสได้ง่าย เหมาะสำหรับใช้ทำเครื่องเรือน หรือส่วนประกอบอาคารที่อยู่ในร่ม

ไม้ฉำฉา (ไม้จามจุรี) เนื้อไม้หยาบสีออกขาว น้ำหนักเบาทำการเลื่อยไส ผ่า และขัดเงาได้ง่ายนิยมใช้ทำลังปัจจุบันมีการนำมาใช้ในงานตกแต่ง และทำเครื่องเรือนต่างๆมากขึ้น

และรวมถึง ไม้มะม่วง ทุเรียน ขนุน เรียกได้ว่าเป็นไม้หัวไร่ปลายนา เกิดจากการที่หาได้ง่าย มีมากและราคาถูก แต่เนื่องจากเป็นไม้เนื้ออ่อน จำเป็นต้องนำมาผ่านกรรมวิธีอัดน้ำยากันปลวกและอบแห้ง จึงสามารถนำมาใช้งานได้ดี ส่วนใหญ่จึงนิยมนำไม้มาทำเฟอร์นิเจอร์ เพราะเนื้ออ่อนไสตัดตกแต่งได้ง่าย


ไม้เนื้ออ่อน

ไม้เนื้ออ่อน

เป็นไม้ที่มีระยะเวลาการเจริญเติบโตเร็วทำให้มีวงปีกว้างลายไม้ที่ได้จึงน้อยและไม่ละเอียด เนื้อไม้เลยมีความแข็งแรงทนทานน้อยกว่าไม้เนื้อแข็ง ไม้ชนิดนี้จะมีสีของไม้แตกต่างกันออกไปมาก ตั้งแต่ไม้ที่มีสีจาง อ่อนไปจนถึงสีเข้ม เนื้อไม้ไม่แข็งมากจึงไม่นิยมมาใช้มาเป็นส่วนโครงสร้างที่ต้องการรับน้ำหนัก และเนื่องจากเนื้อไม้อ่อนทำให้นิยมนำมาใช้สำหรับงานตกแต่งภายในหรือเฟอร์นิเจอร์หรือโครงสร้างที่ไม่ต้องรับน้ำหนักมากแต่ก็ไม่เหมาะที่จะใช้กับงานภายนอกที่ต้องตากแดดตากฝน

ตัวอย่างไม้ชนิดนี้ก็มี
ไม้สยาขาว ลักษณะเนื้อไม้มีสีชมพูอ่อนแกมขาวถึงน้ำตาอ่อนแกมแดง มีริ้วสีแก่กว่าสีพื้น ผิวเป็นมันเลื่อม เนื้อหยาบอ่อน ค่อนข้างเหนียว เลื่อยไสได้ง่าย เหมาะสำหรับใช้ทำเครื่องเรือน หรือส่วนประกอบอาคารที่อยู่ในร่ม

ไม้ฉำฉา (ไม้จามจุรี) เนื้อไม้หยาบสีออกขาว น้ำหนักเบาทำการเลื่อยไส ผ่า และขัดเงาได้ง่ายนิยมใช้ทำลังปัจจุบันมีการนำมาใช้ในงานตกแต่ง และทำเครื่องเรือนต่างๆมากขึ้น

และรวมถึง ไม้มะม่วง ทุเรียน ขนุน เรียกได้ว่าเป็นไม้หัวไร่ปลายนา เกิดจากการที่หาได้ง่าย มีมากและราคาถูก แต่เนื่องจากเป็นไม้เนื้ออ่อน จำเป็นต้องนำมาผ่านกรรมวิธีอัดน้ำยากันปลวกและอบแห้ง จึงสามารถนำมาใช้งานได้ดี ส่วนใหญ่จึงนิยมนำไม้มาทำเฟอร์นิเจอร์ เพราะเนื้ออ่อนไสตัดตกแต่งได้ง่าย


วันพฤหัสบดีที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2556

   ไม้เนื้อแข็ง ที่นิยมใช้ในประเทศไทย 10 ชนิด (2)

   6.ไม้สัก : เป็นไม้เนื้อแข็งปานกลางที่มีลวดลายสวยงามและคุณภาพดีที่สุด เนื้อไม้มีสีน้ำตาลทอง ผิวลายไม้ตรง ละเอียดสวยงาม ไม้เกิดการปิดงอโก่งตัวได้ยาก ไม้สักที่ดี จะต้องใช้เวลานานมากในการเจริญเติบโต ไม้สักที่มีอายุมากจะเกิดการผลิตน้ำมันธรรมชาติของสักซึ่งมีกลิ่นที่ปลวกไม่ ชอบ จึงเป็นเหตุผลที่ทำให้เกิดความเชื่อว่าไม้สักไม่โดนปลวกกิน แต่หากเป็นสักปลูกที่โตเร็วจะไม่มีน้ำมันชนิดนี้สะสมอยู่ในเนื้อไม้ ปลวกจึงเลือกกินไม้สักชนิดนี้ได้เช่นกัน หรือที่เรียกไม้สักชนิดนี้ว่าเป็นไม้สักที่ได้จากป่าปลูก ซึ่งระยะเวลาการปลูกยังไม่ยาวนานพอที่จะเกิดน้ำมันตามธรรมชาติจึงแก้ปัญหา ด้วยการอาบน้ำยากันปลวกแทนก็สามารถช่วยป้องกันปลวกได้อีกทางหนึ่ง ไม้สักมีหลายประเภท ได้แก่ สักทอง สักหิน และสักขี้ควาย ไม้สักที่ดีที่สุดคือ ไม้สักทอง ซึ่งในสมัยนี้ค่อนข้างที่จะหาได้ยากมาก แทบจไม่มีการนำมาใช้เป็นไม้จริงล้วนๆ เนื่องจากมีราคาสูงนิยมนำมาทำเป็นไม้วีเนียร์เพื่อใช้ปะผิวไม้ชนิดอื่นแทน นิยมใช้ในงานที่มีราคาแพง เช่น นำไปใช้เป็นผิวของเรือยอร์ช เนื่องจากไม้สักทองเป้ฯไม้ที่มีความสวยงามและคงทน จึงนิยมเลือกใช้ไม้ชนิดนี้เป็นส่วนประกอบโครงสร้างหรือส่วนต้องการความสวย งามประณีต เช่น บานประตู หน้าต่าง เฟอร์นิเจอร์
   
  7. ไม้ยางพารา : จัดอยู่ในประเภทไม้เนื้อแข็งปานกลางในสมัยก่อนยังไม่ค่อยมีการนำมาใช้ใน ลักษณะของไม้แปรรูป แต่จากการที่ไม้ยางโตเร็วและมีมาก ทำให้สามารถนำมาใช้ในระบบอุตสาหกรรมได้ แต่เนื่องจากต้นยางนั้นจะมีสารอาหารของปลวกและเชื้อรา ทำให้เกิดการพัฒนากระบวนการปรับปรุงคุณภาพของไม้ด้วยการอัดน้ำยากันปลวกและ อบแห้งเพื่อให้เนื้อไม้คงทนแข็งแรง ทำให้สามารถน้ำมาใช้งานได้มากยิ่งขึ้น เนื่องจากไม้ยางพารานั้นราคาไม่แพงหาได้ง่าย และมีข้อดีอีกอย่างคือเป็นไม้สีอ่อนทำให้สามารถนำไปทำสีได้ง่ายด้วย ดังนั้นจะเห็นว่าเดี๋ยวนี้ได้มีการนำไม้ยากมาใช้งานกันอย่างกว้างขวาง และหลากหลายรูปแบบมายิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีการต่อไม้แบบ FJL (Finger Joint Laminage) ที่สามารถนำไม้ยางท่อนสั้นๆมาต่อกันเพื่อให้ได้ไม้ยาวมากขี้นซึ่งมีความแข็ง แรงทนทานมาก และนิยมนำมาเป็นส่วนประกอบของบ้าน เช่น ประตู วงกบประตู บันได พื้นไม้ เฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ
    
 8. ไม้ประดู่ : ลักษณะเนื้อไม้มีสีแดงอมเหลือง สีเส้นเสี้ยนแก่กว่าสีพื้น เนื้อละเอียดปานกลาง ไสตกแต่งและชักเง่าได้ดี นิยมใช้ทำเครื่องเรือน เฟอร์นิเจอร์ หรือใช้ในงานก่อสร้างทั่วไปที่ต้องการความแข็งแรงทนทาน และเนื่องจากมีความคงทนสูงจึงสามารถนำไปต่อเรื่อได้ด้วย
  
  9. ไม้ยาง : เป็นไม้คนละชนิดกับต้นยางพาราที่เรารู้จักกันลักษณะเนื้อไม้มีสีแดงเรื่อๆ หรือสีน้ำตาลหม่นเนื้อไม้หยาบ แข็งแรงปานกลางสามารถเลื่อยไสตกแต่งได้ดี นิยมใช้ในงานก่อสร้างทั่วไป เช่น ทำเป็นไม้ฝา หรือไม้โครงคร่าว เป็นต้น

  10. ไม้กะบาก : ลักษณะเนื้อไม้โดยรวามมีสีตั้งแต่นวลเหลืองถึงน้ำตาลอ่อนแกมแดงเรื่อๆ เสี้ยนมักตรง เนื้อหยาบ แต่สม่ำเสมอ แข็งเหนียวเลื่อยไสตกแต่งได้ไม่ยาก มักนำมาใช้เป็นไม้โครงสร้าง อาทิ ทำเป็นไม้ฝา ไม้โครงคร่าว หรือทำฝ้าเพดาน

ไม้เนื้อแข็ง ที่นิยมใช้ในประเทศไทย 10 ชนิด (2)

   ไม้เนื้อแข็ง ที่นิยมใช้ในประเทศไทย 10 ชนิด (2)

   6.ไม้สัก : เป็นไม้เนื้อแข็งปานกลางที่มีลวดลายสวยงามและคุณภาพดีที่สุด เนื้อไม้มีสีน้ำตาลทอง ผิวลายไม้ตรง ละเอียดสวยงาม ไม้เกิดการปิดงอโก่งตัวได้ยาก ไม้สักที่ดี จะต้องใช้เวลานานมากในการเจริญเติบโต ไม้สักที่มีอายุมากจะเกิดการผลิตน้ำมันธรรมชาติของสักซึ่งมีกลิ่นที่ปลวกไม่ ชอบ จึงเป็นเหตุผลที่ทำให้เกิดความเชื่อว่าไม้สักไม่โดนปลวกกิน แต่หากเป็นสักปลูกที่โตเร็วจะไม่มีน้ำมันชนิดนี้สะสมอยู่ในเนื้อไม้ ปลวกจึงเลือกกินไม้สักชนิดนี้ได้เช่นกัน หรือที่เรียกไม้สักชนิดนี้ว่าเป็นไม้สักที่ได้จากป่าปลูก ซึ่งระยะเวลาการปลูกยังไม่ยาวนานพอที่จะเกิดน้ำมันตามธรรมชาติจึงแก้ปัญหา ด้วยการอาบน้ำยากันปลวกแทนก็สามารถช่วยป้องกันปลวกได้อีกทางหนึ่ง ไม้สักมีหลายประเภท ได้แก่ สักทอง สักหิน และสักขี้ควาย ไม้สักที่ดีที่สุดคือ ไม้สักทอง ซึ่งในสมัยนี้ค่อนข้างที่จะหาได้ยากมาก แทบจไม่มีการนำมาใช้เป็นไม้จริงล้วนๆ เนื่องจากมีราคาสูงนิยมนำมาทำเป็นไม้วีเนียร์เพื่อใช้ปะผิวไม้ชนิดอื่นแทน นิยมใช้ในงานที่มีราคาแพง เช่น นำไปใช้เป็นผิวของเรือยอร์ช เนื่องจากไม้สักทองเป้ฯไม้ที่มีความสวยงามและคงทน จึงนิยมเลือกใช้ไม้ชนิดนี้เป็นส่วนประกอบโครงสร้างหรือส่วนต้องการความสวย งามประณีต เช่น บานประตู หน้าต่าง เฟอร์นิเจอร์
   
  7. ไม้ยางพารา : จัดอยู่ในประเภทไม้เนื้อแข็งปานกลางในสมัยก่อนยังไม่ค่อยมีการนำมาใช้ใน ลักษณะของไม้แปรรูป แต่จากการที่ไม้ยางโตเร็วและมีมาก ทำให้สามารถนำมาใช้ในระบบอุตสาหกรรมได้ แต่เนื่องจากต้นยางนั้นจะมีสารอาหารของปลวกและเชื้อรา ทำให้เกิดการพัฒนากระบวนการปรับปรุงคุณภาพของไม้ด้วยการอัดน้ำยากันปลวกและ อบแห้งเพื่อให้เนื้อไม้คงทนแข็งแรง ทำให้สามารถน้ำมาใช้งานได้มากยิ่งขึ้น เนื่องจากไม้ยางพารานั้นราคาไม่แพงหาได้ง่าย และมีข้อดีอีกอย่างคือเป็นไม้สีอ่อนทำให้สามารถนำไปทำสีได้ง่ายด้วย ดังนั้นจะเห็นว่าเดี๋ยวนี้ได้มีการนำไม้ยากมาใช้งานกันอย่างกว้างขวาง และหลากหลายรูปแบบมายิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีการต่อไม้แบบ FJL (Finger Joint Laminage) ที่สามารถนำไม้ยางท่อนสั้นๆมาต่อกันเพื่อให้ได้ไม้ยาวมากขี้นซึ่งมีความแข็ง แรงทนทานมาก และนิยมนำมาเป็นส่วนประกอบของบ้าน เช่น ประตู วงกบประตู บันได พื้นไม้ เฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ
    
 8. ไม้ประดู่ : ลักษณะเนื้อไม้มีสีแดงอมเหลือง สีเส้นเสี้ยนแก่กว่าสีพื้น เนื้อละเอียดปานกลาง ไสตกแต่งและชักเง่าได้ดี นิยมใช้ทำเครื่องเรือน เฟอร์นิเจอร์ หรือใช้ในงานก่อสร้างทั่วไปที่ต้องการความแข็งแรงทนทาน และเนื่องจากมีความคงทนสูงจึงสามารถนำไปต่อเรื่อได้ด้วย
  
  9. ไม้ยาง : เป็นไม้คนละชนิดกับต้นยางพาราที่เรารู้จักกันลักษณะเนื้อไม้มีสีแดงเรื่อๆ หรือสีน้ำตาลหม่นเนื้อไม้หยาบ แข็งแรงปานกลางสามารถเลื่อยไสตกแต่งได้ดี นิยมใช้ในงานก่อสร้างทั่วไป เช่น ทำเป็นไม้ฝา หรือไม้โครงคร่าว เป็นต้น

  10. ไม้กะบาก : ลักษณะเนื้อไม้โดยรวามมีสีตั้งแต่นวลเหลืองถึงน้ำตาลอ่อนแกมแดงเรื่อๆ เสี้ยนมักตรง เนื้อหยาบ แต่สม่ำเสมอ แข็งเหนียวเลื่อยไสตกแต่งได้ไม่ยาก มักนำมาใช้เป็นไม้โครงสร้าง อาทิ ทำเป็นไม้ฝา ไม้โครงคร่าว หรือทำฝ้าเพดาน
ไม้เนื้อแข็ง ที่นิยมใช้ในประเทศไทย 10 ชนิด (1)
  1. ไม้เต็ง : ไม้มีสีนำตาลอ่อน ถ้าตัดทิ้งไว้นานสีจะเข้มข้นเนื้อไม้มีความแข็งมากทำให้ไสและตัดแต่งได้ยากไม่นิยมใช้สำหรับงานภายในเนื่องจากผิวหยาบและเสี้ยนลายไม้ไม่ค่อยสวยงามจึงนิยมใช้กับงานโครงสร้างที่ไม่ต้องการความสวยงามมาก  เช่น เสา คาน ตง วงกล ประตู หน้าต่าง เหมาะที่จะใช้กับงานภายนอกเป็นหลักเนื่องจากทนสภาพดินฟ้าอากาศได้ดี
  2. ไม้แดง : ลักษณะไม้มีสีน้ำตาลเข้มอมแดง ผิวลายไม้มีความชัดเจน เนื้อไม้มีความแข็งแรงทนทาน มีราคาแพง และด้วยสัมผัสผิวลาย สีสันของไม้ที่มีความสวยงาม ทำให้นิยมมาใช้ในส่วนประกอบโครงสร้างที่เห็ฯได้ชัด อย่างเช่น พื้น วงกบประตู หน้าต่าง แต่ไม่นิยมนำมาทำเฟอร์นิเจอร์ เพราะเนื้อไม้มีความแข็งทำให้ขัดแต่งได้ยาก
  3. ไม้มะค่า : ลักษณะไม้มีสีน้ำตาลเข้มอมส้ม ไม้มะค่าเป็นไม้อีกชนิดหนึ่งที่นิยมมาก ซึ่งมีคุณสมบัติที่ดีคือ เนื้อไม้มีความแข็งแรงมาก สีไม้และเส้นลวดลายไม้ชัดเจนสวยงาม ทำให้ปัจจุบันไม้มะค่าและมีราคาแพง ไม้มะค่าบางส่วนจึงนำเข้ามาจากแอฟริกาซึ่งภูมิอากาศแถบนั้นจะคล้ายๆ ประเทศไทย แต่สีของไม้จะไม่สวยเท่าไม้มะค่าในประเทศจึงไม่แปลกที่ไม้มะค่าจะมีราคาแพงกว่าไม้แดง
  4. ไม้ตะแบ : เนื้อไม้สีน้ำตาลอ่อนอมเหลือง สีไม้อ่อนที่สุดในบรรดาไม้ในประเทศ จึงสามารถนำไม้ไปย้อมสีตามที่ต้องการได้ง่ายลายไม้มีความสวยงามใกล้เคียงกับไม้สัก แลทำการไสตกแต่งได้ง่าย แต่ในขณะเดียวกันหากโดนความร้อนหรือความชื้นก็สามารถปิดและโก่งตัวได้ง่ายเช่นเดียวกันจึงนิยมนำมาใช้งานภายในเท่านั้น เช่น พื้นบ้าน บานประตู
  5. ไม้ตะเคียน : เป็นไม้เนื้อแข็งมากเช่นเดียวกัน และเป็นไม้อีกชนิดที่นิยมนำมาใช้สร้างบ้าน ไม้ตะเคียนจะมีสีออกเหลืองทอง แต่จะกลายเป็นสีน้ำตาลเข้มเมื่อทิ้งไว้นานและถูกแสงแดด นิยมนำมาทำวงกบ และพื้นไม้ เนื่องจากมีความคงทนสูงจึงสามารถนำไปต่อเรือได้เช่นเดียวกัน เนื้อของไม้ตะเคียนนั้นจะมีตำหนิที่เรียกว่า "รูมอด" ซึ่งมีลักษณะเป็นรูเล็กๆ อยู่ในเนื้อไม้ชนิดนี้ หลายคนอาจจะกลัวว่าการที่ไม้มีรูแบบนี้ อาจจะทำให้ไม้ไม่ทนทาน แต่จริงๆ รูมอดที่เห็นนั้นไม่ได้มผลต่อความแข็งแรงของไม้แต่อย่างใด
  6. ไม้สัก : เป็นไม้เนื้อแข็งปานกลางที่มีลวดลายสวยงามและคุณภาพดีที่สุด เนื้อไม้มีสีน้ำตาลทอง ผิวลายไม้ตรง ละเอียดสวยงาม ไม้เกิดการปิดงอโก่งตัวได้ยาก ไม้สักที่ดี จะต้องใช้เวลานานมากในการเจริญเติบโต ไม้สักที่มีอายุมากจะเกิดการผลิตน้ำมันธรรมชาติของสักซึ่งมีกลิ่นที่ปลวกไม่ ชอบ จึงเป็นเหตุผลที่ทำให้เกิดความเชื่อว่าไม้สักไม่โดนปลวกกิน แต่หากเป็นสักปลูกที่โตเร็วจะไม่มีน้ำมันชนิดนี้สะสมอยู่ในเนื้อไม้ ปลวกจึงเลือกกินไม้สักชนิดนี้ได้เช่นกัน หรือที่เรียกไม้สักชนิดนี้ว่าเป็นไม้สักที่ได้จากป่าปลูก ซึ่งระยะเวลาการปลูกยังไม่ยาวนานพอที่จะเกิดน้ำมันตามธรรมชาติจึงแก้ปัญหา ด้วยการอาบน้ำยากันปลวกแทนก็สามารถช่วยป้องกันปลวกได้อีกทางหนึ่ง ไม้สักมีหลายประเภท ได้แก่ สักทอง สักหิน และสักขี้ควาย ไม้สักที่ดีที่สุดคือ ไม้สักทอง ซึ่งในสมัยนี้ค่อนข้างที่จะหาได้ยากมาก แทบจไม่มีการนำมาใช้เป็นไม้จริงล้วนๆ เนื่องจากมีราคาสูงนิยมนำมาทำเป็นไม้วีเนียร์เพื่อใช้ปะผิวไม้ชนิดอื่นแทน นิยมใช้ในงานที่มีราคาแพง เช่น นำไปใช้เป็นผิวของเรือยอร์ช เนื่องจากไม้สักทองเป้ฯไม้ที่มีความสวยงามและคงทน จึงนิยมเลือกใช้ไม้ชนิดนี้เป็นส่วนประกอบโครงสร้างหรือส่วนต้องการความสวย งามประณีต เช่น บานประตู หน้าต่าง เฟอร์นิเจอร์ 
  7. ไม้ยางพารา : จัดอยู่ในประเภทไม้เนื้อแข็งปานกลางในสมัยก่อนยังไม่ค่อยมีการนำมาใช้ใน ลักษณะของไม้แปรรูป แต่จากการที่ไม้ยางโตเร็วและมีมาก ทำให้สามารถนำมาใช้ในระบบอุตสาหกรรมได้ แต่เนื่องจากต้นยางนั้นจะมีสารอาหารของปลวกและเชื้อรา ทำให้เกิดการพัฒนากระบวนการปรับปรุงคุณภาพของไม้ด้วยการอัดน้ำยากันปลวกและ อบแห้งเพื่อให้เนื้อไม้คงทนแข็งแรง ทำให้สามารถน้ำมาใช้งานได้มากยิ่งขึ้น เนื่องจากไม้ยางพารานั้นราคาไม่แพงหาได้ง่าย และมีข้อดีอีกอย่างคือเป็นไม้สีอ่อนทำให้สามารถนำไปทำสีได้ง่ายด้วย ดังนั้นจะเห็นว่าเดี๋ยวนี้ได้มีการนำไม้ยากมาใช้งานกันอย่างกว้างขวาง และหลากหลายรูปแบบมายิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีการต่อไม้แบบ FJL (Finger Joint Laminage) ที่สามารถนำไม้ยางท่อนสั้นๆมาต่อกันเพื่อให้ได้ไม้ยาวมากขี้นซึ่งมีความแข็ง แรงทนทานมาก และนิยมนำมาเป็นส่วนประกอบของบ้าน เช่น ประตู วงกบประตู บันได พื้นไม้ เฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ
  8. ไม้ประดู่ : ลักษณะเนื้อไม้มีสีแดงอมเหลือง สีเส้นเสี้ยนแก่กว่าสีพื้น เนื้อละเอียดปานกลาง ไสตกแต่งและชักเง่าได้ดี นิยมใช้ทำเครื่องเรือน เฟอร์นิเจอร์ หรือใช้ในงานก่อสร้างทั่วไปที่ต้องการความแข็งแรงทนทาน และเนื่องจากมีความคงทนสูงจึงสามารถนำไปต่อเรื่อได้ด้วย
  9. ไม้ยาง : เป็นไม้คนละชนิดกับต้นยางพาราที่เรารู้จักกันลักษณะเนื้อไม้มีสีแดงเรื่อๆ หรือสีน้ำตาลหม่นเนื้อไม้หยาบ แข็งแรงปานกลางสามารถเลื่อยไสตกแต่งได้ดี นิยมใช้ในงานก่อสร้างทั่วไป เช่น ทำเป็นไม้ฝา หรือไม้โครงคร่าว เป็นต้น
  10. ไม้กะบาก : ลักษณะเนื้อไม้โดยรวามมีสีตั้งแต่นวลเหลืองถึงน้ำตาลอ่อนแกมแดงเรื่อๆ เสี้ยนมักตรง เนื้อหยาบ แต่สม่ำเสมอ แข็งเหนียวเลื่อยไสตกแต่งได้ไม่ยาก มักนำมาใช้เป็นไม้โครงสร้าง อาทิ ทำเป็นไม้ฝา ไม้โครงคร่าว หรือทำฝ้าเพดาน

ไม้เนื้อแข็ง ที่นิยมใช้ในประเทศไทย 10 ชนิด (1)

ไม้เนื้อแข็ง ที่นิยมใช้ในประเทศไทย 10 ชนิด (1)
  1. ไม้เต็ง : ไม้มีสีนำตาลอ่อน ถ้าตัดทิ้งไว้นานสีจะเข้มข้นเนื้อไม้มีความแข็งมากทำให้ไสและตัดแต่งได้ยากไม่นิยมใช้สำหรับงานภายในเนื่องจากผิวหยาบและเสี้ยนลายไม้ไม่ค่อยสวยงามจึงนิยมใช้กับงานโครงสร้างที่ไม่ต้องการความสวยงามมาก  เช่น เสา คาน ตง วงกล ประตู หน้าต่าง เหมาะที่จะใช้กับงานภายนอกเป็นหลักเนื่องจากทนสภาพดินฟ้าอากาศได้ดี
  2. ไม้แดง : ลักษณะไม้มีสีน้ำตาลเข้มอมแดง ผิวลายไม้มีความชัดเจน เนื้อไม้มีความแข็งแรงทนทาน มีราคาแพง และด้วยสัมผัสผิวลาย สีสันของไม้ที่มีความสวยงาม ทำให้นิยมมาใช้ในส่วนประกอบโครงสร้างที่เห็ฯได้ชัด อย่างเช่น พื้น วงกบประตู หน้าต่าง แต่ไม่นิยมนำมาทำเฟอร์นิเจอร์ เพราะเนื้อไม้มีความแข็งทำให้ขัดแต่งได้ยาก
  3. ไม้มะค่า : ลักษณะไม้มีสีน้ำตาลเข้มอมส้ม ไม้มะค่าเป็นไม้อีกชนิดหนึ่งที่นิยมมาก ซึ่งมีคุณสมบัติที่ดีคือ เนื้อไม้มีความแข็งแรงมาก สีไม้และเส้นลวดลายไม้ชัดเจนสวยงาม ทำให้ปัจจุบันไม้มะค่าและมีราคาแพง ไม้มะค่าบางส่วนจึงนำเข้ามาจากแอฟริกาซึ่งภูมิอากาศแถบนั้นจะคล้ายๆ ประเทศไทย แต่สีของไม้จะไม่สวยเท่าไม้มะค่าในประเทศจึงไม่แปลกที่ไม้มะค่าจะมีราคาแพงกว่าไม้แดง
  4. ไม้ตะแบ : เนื้อไม้สีน้ำตาลอ่อนอมเหลือง สีไม้อ่อนที่สุดในบรรดาไม้ในประเทศ จึงสามารถนำไม้ไปย้อมสีตามที่ต้องการได้ง่ายลายไม้มีความสวยงามใกล้เคียงกับไม้สัก แลทำการไสตกแต่งได้ง่าย แต่ในขณะเดียวกันหากโดนความร้อนหรือความชื้นก็สามารถปิดและโก่งตัวได้ง่ายเช่นเดียวกันจึงนิยมนำมาใช้งานภายในเท่านั้น เช่น พื้นบ้าน บานประตู
  5. ไม้ตะเคียน : เป็นไม้เนื้อแข็งมากเช่นเดียวกัน และเป็นไม้อีกชนิดที่นิยมนำมาใช้สร้างบ้าน ไม้ตะเคียนจะมีสีออกเหลืองทอง แต่จะกลายเป็นสีน้ำตาลเข้มเมื่อทิ้งไว้นานและถูกแสงแดด นิยมนำมาทำวงกบ และพื้นไม้ เนื่องจากมีความคงทนสูงจึงสามารถนำไปต่อเรือได้เช่นเดียวกัน เนื้อของไม้ตะเคียนนั้นจะมีตำหนิที่เรียกว่า "รูมอด" ซึ่งมีลักษณะเป็นรูเล็กๆ อยู่ในเนื้อไม้ชนิดนี้ หลายคนอาจจะกลัวว่าการที่ไม้มีรูแบบนี้ อาจจะทำให้ไม้ไม่ทนทาน แต่จริงๆ รูมอดที่เห็นนั้นไม่ได้มผลต่อความแข็งแรงของไม้แต่อย่างใด
  6. ไม้สัก : เป็นไม้เนื้อแข็งปานกลางที่มีลวดลายสวยงามและคุณภาพดีที่สุด เนื้อไม้มีสีน้ำตาลทอง ผิวลายไม้ตรง ละเอียดสวยงาม ไม้เกิดการปิดงอโก่งตัวได้ยาก ไม้สักที่ดี จะต้องใช้เวลานานมากในการเจริญเติบโต ไม้สักที่มีอายุมากจะเกิดการผลิตน้ำมันธรรมชาติของสักซึ่งมีกลิ่นที่ปลวกไม่ ชอบ จึงเป็นเหตุผลที่ทำให้เกิดความเชื่อว่าไม้สักไม่โดนปลวกกิน แต่หากเป็นสักปลูกที่โตเร็วจะไม่มีน้ำมันชนิดนี้สะสมอยู่ในเนื้อไม้ ปลวกจึงเลือกกินไม้สักชนิดนี้ได้เช่นกัน หรือที่เรียกไม้สักชนิดนี้ว่าเป็นไม้สักที่ได้จากป่าปลูก ซึ่งระยะเวลาการปลูกยังไม่ยาวนานพอที่จะเกิดน้ำมันตามธรรมชาติจึงแก้ปัญหา ด้วยการอาบน้ำยากันปลวกแทนก็สามารถช่วยป้องกันปลวกได้อีกทางหนึ่ง ไม้สักมีหลายประเภท ได้แก่ สักทอง สักหิน และสักขี้ควาย ไม้สักที่ดีที่สุดคือ ไม้สักทอง ซึ่งในสมัยนี้ค่อนข้างที่จะหาได้ยากมาก แทบจไม่มีการนำมาใช้เป็นไม้จริงล้วนๆ เนื่องจากมีราคาสูงนิยมนำมาทำเป็นไม้วีเนียร์เพื่อใช้ปะผิวไม้ชนิดอื่นแทน นิยมใช้ในงานที่มีราคาแพง เช่น นำไปใช้เป็นผิวของเรือยอร์ช เนื่องจากไม้สักทองเป้ฯไม้ที่มีความสวยงามและคงทน จึงนิยมเลือกใช้ไม้ชนิดนี้เป็นส่วนประกอบโครงสร้างหรือส่วนต้องการความสวย งามประณีต เช่น บานประตู หน้าต่าง เฟอร์นิเจอร์ 
  7. ไม้ยางพารา : จัดอยู่ในประเภทไม้เนื้อแข็งปานกลางในสมัยก่อนยังไม่ค่อยมีการนำมาใช้ใน ลักษณะของไม้แปรรูป แต่จากการที่ไม้ยางโตเร็วและมีมาก ทำให้สามารถนำมาใช้ในระบบอุตสาหกรรมได้ แต่เนื่องจากต้นยางนั้นจะมีสารอาหารของปลวกและเชื้อรา ทำให้เกิดการพัฒนากระบวนการปรับปรุงคุณภาพของไม้ด้วยการอัดน้ำยากันปลวกและ อบแห้งเพื่อให้เนื้อไม้คงทนแข็งแรง ทำให้สามารถน้ำมาใช้งานได้มากยิ่งขึ้น เนื่องจากไม้ยางพารานั้นราคาไม่แพงหาได้ง่าย และมีข้อดีอีกอย่างคือเป็นไม้สีอ่อนทำให้สามารถนำไปทำสีได้ง่ายด้วย ดังนั้นจะเห็นว่าเดี๋ยวนี้ได้มีการนำไม้ยากมาใช้งานกันอย่างกว้างขวาง และหลากหลายรูปแบบมายิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีการต่อไม้แบบ FJL (Finger Joint Laminage) ที่สามารถนำไม้ยางท่อนสั้นๆมาต่อกันเพื่อให้ได้ไม้ยาวมากขี้นซึ่งมีความแข็ง แรงทนทานมาก และนิยมนำมาเป็นส่วนประกอบของบ้าน เช่น ประตู วงกบประตู บันได พื้นไม้ เฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ
  8. ไม้ประดู่ : ลักษณะเนื้อไม้มีสีแดงอมเหลือง สีเส้นเสี้ยนแก่กว่าสีพื้น เนื้อละเอียดปานกลาง ไสตกแต่งและชักเง่าได้ดี นิยมใช้ทำเครื่องเรือน เฟอร์นิเจอร์ หรือใช้ในงานก่อสร้างทั่วไปที่ต้องการความแข็งแรงทนทาน และเนื่องจากมีความคงทนสูงจึงสามารถนำไปต่อเรื่อได้ด้วย
  9. ไม้ยาง : เป็นไม้คนละชนิดกับต้นยางพาราที่เรารู้จักกันลักษณะเนื้อไม้มีสีแดงเรื่อๆ หรือสีน้ำตาลหม่นเนื้อไม้หยาบ แข็งแรงปานกลางสามารถเลื่อยไสตกแต่งได้ดี นิยมใช้ในงานก่อสร้างทั่วไป เช่น ทำเป็นไม้ฝา หรือไม้โครงคร่าว เป็นต้น
  10. ไม้กะบาก : ลักษณะเนื้อไม้โดยรวามมีสีตั้งแต่นวลเหลืองถึงน้ำตาลอ่อนแกมแดงเรื่อๆ เสี้ยนมักตรง เนื้อหยาบ แต่สม่ำเสมอ แข็งเหนียวเลื่อยไสตกแต่งได้ไม่ยาก มักนำมาใช้เป็นไม้โครงสร้าง อาทิ ทำเป็นไม้ฝา ไม้โครงคร่าว หรือทำฝ้าเพดาน

วันจันทร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2556

 ไม้ในประเทศไทย

               ภูมิอากาศในบ้านเราส่งผลต่อลักษณะ และคุณสมบัติของไม้ในประเทศไทยซึ่งอยู่ในเขตโซนร้อน ทำให้ไม้มีสีเข้มสีแดงหรือสีน้ำตาลเข้ม และส่วนใหญ่ก็จะเป็นไม้เนื้อแข็ง แตกต่างจากไม้โซนยุโรป ซึ้งไม้มีสีไม่เข้มมากเท่าบ้านเราหรือส่วนใหญ่นั้นจะเป็นไม้สีอ่อน ซึงจะแบ่งชนิดของไม้ออกได้เป็น ไม้เนื้อแข็งและไม้เนื้ออ่อน ซึงลักษณคุณสมบัติการนำไปใช้งานก็จะแตกต่างกันไปตามแต่ละชนิดของไม้เช่น เดียวกัน
 
ไม้เนื้อแข็ง : ไม้ชนิดนี้จะมีวงปีมากกว่าไม้ชนิดอื่น เนื่องจากระยะเวลาเติบโตช้าและไม้ต้องมีอายุมากถึงจะนำมาใช้งานได้ ไม้ชนิดนี้ส่วนใหญ่จะมีเนื้อไม้ที่มีสีเข้ม มีความเหนียวและแข็งแรงมาก จึงมีความทนทานสามารถนำมาใช้กับงานภายนอกที่ต้องตากแดดตากฝนได้ดี
ถึงแม้ว่าไม้เนื้อแข็งจะมีข้อดีคือ แข็งแรงและทนทาน แต่ก็มีข้อเสียคือ อาจเกิดการบิดตัวของไม้เมื่อเวลาเกิดความชื้น ความร้อน หรืออุณหภูมิเกิดการเปลี่ยนแปลง ทำให้ไม้หดและขยายตัวได้ ซึ่งไม้เนื้อแข็งทุกชนิดส่วนใหญ่ก็จะเกิดการบิดตัวเล็กๆ น้อยๆ เป็นเรื่องปกติเช่นเดียวกันโดยไม้ที่นิยมใช้ในบ้านเรามีดังนี้
  1. ไม้เต็ง
  2. ไม้แดง
  3. ไม้มะค่า
  4. ไม้ตะแบก
  5. ไม้ตะเคียน
  6. ไม้สัก
  7. ไม้ยางพารา
  8. ไม้ประดู่
  9. ไม้ยาง
  10. ไม้กะบาก
ไม้เนื้ออ่อน : เป็นไม้ที่มีระยะเวลาการเจริญเติบโตเร็วทำให้วงปีที่กว่างลายไม้ที่ได้จึง น้อยและไม่ละเอียด เนื้อไม้เลยมีความแข็งแรงทนทาน้อยกว่าไม้เนื้อแข็ง ไม้ชนิดนี้จะมีสีของไม้แตกต่างกันออกไปมาก ตั้งแต่ไม้ที่มีสีจาง อ่อนไปจนถึงสีเข้ม เนื้อไม้ไม่แข็งมากจึงไม่นิยมมาทำในส่วนของโครงสร้างทึ่ต้องรับน้ำหนัก และเนื่องจากเนื้อไม้อ่อนทำให้นิยมนำมาใช้สำหรับงานตกแต่งภายในหรือ เฟอร์นิเจอร์หรือโคงสร้างที่ไม่ต้องรับน้ำหนักมากแต่ก็ไม่เหมาะที่จะใช้งาน ภายนอกที่ต้องตากแดดตากฝน
  1. ไม้สยาขาว
  2. ไม้ฉ่ำฉา (ไม้จามจุรี)
  3. ไม้มะม่วง, ไม้ทุเรียน, ไม้ขนุน 

 ดังนั้นการเลือกใช้งานจึงจำเป็นต้องดูประเภทเนื้อไม้ให้สมกับประเภทการใช้งาน เพื่อให้ใช้งานได้ตรงตามความต้องการ และสวยงาม

ไม้ในประเทศไทย

 ไม้ในประเทศไทย

               ภูมิอากาศในบ้านเราส่งผลต่อลักษณะ และคุณสมบัติของไม้ในประเทศไทยซึ่งอยู่ในเขตโซนร้อน ทำให้ไม้มีสีเข้มสีแดงหรือสีน้ำตาลเข้ม และส่วนใหญ่ก็จะเป็นไม้เนื้อแข็ง แตกต่างจากไม้โซนยุโรป ซึ้งไม้มีสีไม่เข้มมากเท่าบ้านเราหรือส่วนใหญ่นั้นจะเป็นไม้สีอ่อน ซึงจะแบ่งชนิดของไม้ออกได้เป็น ไม้เนื้อแข็งและไม้เนื้ออ่อน ซึงลักษณคุณสมบัติการนำไปใช้งานก็จะแตกต่างกันไปตามแต่ละชนิดของไม้เช่น เดียวกัน
 
ไม้เนื้อแข็ง : ไม้ชนิดนี้จะมีวงปีมากกว่าไม้ชนิดอื่น เนื่องจากระยะเวลาเติบโตช้าและไม้ต้องมีอายุมากถึงจะนำมาใช้งานได้ ไม้ชนิดนี้ส่วนใหญ่จะมีเนื้อไม้ที่มีสีเข้ม มีความเหนียวและแข็งแรงมาก จึงมีความทนทานสามารถนำมาใช้กับงานภายนอกที่ต้องตากแดดตากฝนได้ดี
ถึงแม้ว่าไม้เนื้อแข็งจะมีข้อดีคือ แข็งแรงและทนทาน แต่ก็มีข้อเสียคือ อาจเกิดการบิดตัวของไม้เมื่อเวลาเกิดความชื้น ความร้อน หรืออุณหภูมิเกิดการเปลี่ยนแปลง ทำให้ไม้หดและขยายตัวได้ ซึ่งไม้เนื้อแข็งทุกชนิดส่วนใหญ่ก็จะเกิดการบิดตัวเล็กๆ น้อยๆ เป็นเรื่องปกติเช่นเดียวกันโดยไม้ที่นิยมใช้ในบ้านเรามีดังนี้
  1. ไม้เต็ง
  2. ไม้แดง
  3. ไม้มะค่า
  4. ไม้ตะแบก
  5. ไม้ตะเคียน
  6. ไม้สัก
  7. ไม้ยางพารา
  8. ไม้ประดู่
  9. ไม้ยาง
  10. ไม้กะบาก
ไม้เนื้ออ่อน : เป็นไม้ที่มีระยะเวลาการเจริญเติบโตเร็วทำให้วงปีที่กว่างลายไม้ที่ได้จึง น้อยและไม่ละเอียด เนื้อไม้เลยมีความแข็งแรงทนทาน้อยกว่าไม้เนื้อแข็ง ไม้ชนิดนี้จะมีสีของไม้แตกต่างกันออกไปมาก ตั้งแต่ไม้ที่มีสีจาง อ่อนไปจนถึงสีเข้ม เนื้อไม้ไม่แข็งมากจึงไม่นิยมมาทำในส่วนของโครงสร้างทึ่ต้องรับน้ำหนัก และเนื่องจากเนื้อไม้อ่อนทำให้นิยมนำมาใช้สำหรับงานตกแต่งภายในหรือ เฟอร์นิเจอร์หรือโคงสร้างที่ไม่ต้องรับน้ำหนักมากแต่ก็ไม่เหมาะที่จะใช้งาน ภายนอกที่ต้องตากแดดตากฝน
  1. ไม้สยาขาว
  2. ไม้ฉ่ำฉา (ไม้จามจุรี)
  3. ไม้มะม่วง, ไม้ทุเรียน, ไม้ขนุน 

 ดังนั้นการเลือกใช้งานจึงจำเป็นต้องดูประเภทเนื้อไม้ให้สมกับประเภทการใช้งาน เพื่อให้ใช้งานได้ตรงตามความต้องการ และสวยงาม

                ไม้เป็นวัสดุธรรมชาติที่อยู่คู่กับคนไทยมาเป็น ระยะเวลานานมาก เนื่องจากประเทศไทยอยู่ในเขตภูมิอากาศร้อนชื้นทำให้มีความอุดมสมบูรณ์ในด้านทรัพยากรป่าไม้เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจำพวกไม้เนื้อแข็งที่มีความคงทนเหมาะสมกับการใช้งานภูมิอากาศของบ้านเรา รวมถึงมีไม้สักที่มีคุณสมบัติพิเศษในเรื่องการทนต่อการทำลายของปลวกและมีสีสันและลวดลายที่สวยงาม ทำให้คนไทยเราคุ้นเคยกับการใช้ไม้เป็นอย่างดีมาตั้งแต่อดีต ดังจะเห็นได้จากบ้านที่สร้างมาตั้งแต่อดีตซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ไม้เป็นวัสดุหลักในการก่อสร้างและตกแต่ง
                แต่จากการใช้ทรัพยากรป่าไม้อย่างฟุ่มเฟื่อยและไม่มีการจัดการที่ดีในอดีต ส่งผลทำให้ทรัพยากรป่าไม้ของประเทศไทยลดลงเป็ฯจำนวนมาก จึงทำให้มีผลกระทบกับความสมดุลของธรรมชาติ ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ อย่างมากมาย เช่น น้ำท่วม ฝนไม่ตกต้องตามถดูกาล และอื่นๆ อีกมากมาย จึงทำให้เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการใชัพรัพยากรป่าไม้ อันที่จริงแล้วไม้เป็นวัสดุจากธรรมชาติที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด มากกว่าเหล็ก ปูน หิน หรือพลาสติก

                ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถปลูกทดแทนได้และใช้เวลาน้อยที่สุดเมื่อ เทียบกับทรัพยากรธรรมชาติชนิดอื่นๆ เช่น แร่ เหล็ก หินหรือทรายที่ได้จากธรรมชาติ หรือน้ำมันซึ่งเป็นวัสดุตั้งต้นของการผลิตพลาสติกชนิดต่างๆ ไม้เป็นวัสดุที่ใช้พลังงานในการแปรรูปน้อยที่สุดและมีของเสียหรือมลพิษต่างๆ น้อยมาก เมื่อเทียบกับการถลุงเหล็ก ระเบิดภูเขา หรือ การกลั่นน้ำมัน และไม้ยังสามารถกักเก็บคาร์บอนได้ดีที่สุดเมื่อเทียบกับวัสดุชนิดอื่นๆ ยังไม่รวมถึงคุณสมบัติที่โดดเด่นของไม้เอง เช่นความเป็นฉนวนที่สูงไม่กักเก็บความร้อนดังจะเห็นได้ว่าเมื่อเราอยู่ใน บ้านที่สร้างจากไม้จะรู้สักเย็นสบายกว่าอยู่ในบ้านที่ทำจากปูน


 By คุณสมานชัย  อธิพันธุ์อำไพ

เรื่องของไม้


                ไม้เป็นวัสดุธรรมชาติที่อยู่คู่กับคนไทยมาเป็น ระยะเวลานานมาก เนื่องจากประเทศไทยอยู่ในเขตภูมิอากาศร้อนชื้นทำให้มีความอุดมสมบูรณ์ในด้านทรัพยากรป่าไม้เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจำพวกไม้เนื้อแข็งที่มีความคงทนเหมาะสมกับการใช้งานภูมิอากาศของบ้านเรา รวมถึงมีไม้สักที่มีคุณสมบัติพิเศษในเรื่องการทนต่อการทำลายของปลวกและมีสีสันและลวดลายที่สวยงาม ทำให้คนไทยเราคุ้นเคยกับการใช้ไม้เป็นอย่างดีมาตั้งแต่อดีต ดังจะเห็นได้จากบ้านที่สร้างมาตั้งแต่อดีตซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ไม้เป็นวัสดุหลักในการก่อสร้างและตกแต่ง
                แต่จากการใช้ทรัพยากรป่าไม้อย่างฟุ่มเฟื่อยและไม่มีการจัดการที่ดีในอดีต ส่งผลทำให้ทรัพยากรป่าไม้ของประเทศไทยลดลงเป็ฯจำนวนมาก จึงทำให้มีผลกระทบกับความสมดุลของธรรมชาติ ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ อย่างมากมาย เช่น น้ำท่วม ฝนไม่ตกต้องตามถดูกาล และอื่นๆ อีกมากมาย จึงทำให้เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการใชัพรัพยากรป่าไม้ อันที่จริงแล้วไม้เป็นวัสดุจากธรรมชาติที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด มากกว่าเหล็ก ปูน หิน หรือพลาสติก

                ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถปลูกทดแทนได้และใช้เวลาน้อยที่สุดเมื่อ เทียบกับทรัพยากรธรรมชาติชนิดอื่นๆ เช่น แร่ เหล็ก หินหรือทรายที่ได้จากธรรมชาติ หรือน้ำมันซึ่งเป็นวัสดุตั้งต้นของการผลิตพลาสติกชนิดต่างๆ ไม้เป็นวัสดุที่ใช้พลังงานในการแปรรูปน้อยที่สุดและมีของเสียหรือมลพิษต่างๆ น้อยมาก เมื่อเทียบกับการถลุงเหล็ก ระเบิดภูเขา หรือ การกลั่นน้ำมัน และไม้ยังสามารถกักเก็บคาร์บอนได้ดีที่สุดเมื่อเทียบกับวัสดุชนิดอื่นๆ ยังไม่รวมถึงคุณสมบัติที่โดดเด่นของไม้เอง เช่นความเป็นฉนวนที่สูงไม่กักเก็บความร้อนดังจะเห็นได้ว่าเมื่อเราอยู่ใน บ้านที่สร้างจากไม้จะรู้สักเย็นสบายกว่าอยู่ในบ้านที่ทำจากปูน


 By คุณสมานชัย  อธิพันธุ์อำไพ